๑๐ เรื่องต้องรู้ ‘กฎหมาย PDPA’ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ก่อนบังคับใช้ ๑ มิ.ย.นี้
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ PDPA ซึ่งย่อมาจากคำว่า Personal Data Protection Act B.E. 2562 (2019) ประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2562 หลังจากที่ถูกเลื่อนออกมาให้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มิถุนายน 2565 นี้
กฎหมายฉบับนี้ จะมีบทบาทสำคัญในการคุ้มครองและให้สิทธิกับเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลของเราเอง รวมถึงได้สร้างมาตรฐานใหม่ให้เกิดขึ้นกับบุคคลหรือนิติบุคคลในการเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล รวมถึงการใช้ข้อมูล หรือเพื่อการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ที่จะต้องปฏิบัติตามกฎหมายฉบับนี้ หากผู้ใดหรือองค์กรใดไม่ปฏิบัติตามนั้น มีโทษทั้งทางแพ่ง โทษทางอาญา และโทษทางปกครอง
KM เรื่อง การตรวจสอบข้อมูลผู้รับบริการฉีดวัคซีน (COVID-19) รอบ 2-2564
การตรวจสอบข้อมูลผู้รับบริการฉีดวัคซีน (COVID-19) คลิกที่นี่
คู่มือ การตั้งค่าเชื่อมต่อ VPN คลิกที่นี่
คู่มือ การใช้งานระบบ MOPH Immunization Center Dashboard คลิกที่นี่
KM เทคนิคการแก้ไขปัญหาเครื่องปริ้น Lexmark mx521 เพื่อทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
เทคนิคการแก้ไขปัญหาเครื่องปริ้น Lexmark mx521
เพื่อทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ คลิกที่นี่
คู่มือการแก้ปัญหา
ผศ.นพ.วิชิต วิริยะโรจน์ รองผู้อำนวยการ ฯ
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ฯ คณะแพทยศาสตร์ มศว
จัดอบรม “การสร้างความตระหนักด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ณ ห้องสมุด อาคารคณะแพทยศาสตร์ มศว องครักษ์ วันที่ 2 ธันวาคม 2563
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ฯ คณะแพทยศาสตร์ มศว
จัดโครงการเพิ่มพูนทักษะความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ความตระหนักด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับบุคลากร Cyber Security Knowledge for Healthcare Organization staff) ณ ห้องเรียนรวม ชั้น 5 อาคารคณะแพทยศาสตร์ มศว องครักษ์ วันที่ 23 พฤศจิกายน 2563
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
เตรียมความพร้อม Kickoff IA +VA สำหรับการรับตรวจประเมิน iso ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 1 และ 2 ตุลาคม 2563 ที่ผ่านมา
บังเกิดคดีฆาตกรรม! เหตุโรงพยาบาลในเยอรมนีถูกแฮ็กเรียกค่าไถ่ด้วย Ransomware
Ransomware หรือ มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ชื่อที่หลายคนอาจจะเคยได้ยินมาบ้าง หรือแม้กระทั่งบางคนเคยโดนภัย Ransomware มากับตัวเอง โดยพฤติกรรมของ Ransomware มักจะทำการ Lock file หรือ encryption file เพื่อไม่ให้เหยื่อเข้าใช้งานไฟล์ที่ถูก Lock ไว้ได้ จากนั้นจะมีข้อความเพื่อทำการเรียกค่าไถ่ข้อมูลที่ได้ Lock ไว้ หากเหยื่อยินยอมจ่ายค่าไถ่แฮกเกอร์ก็จะปลดล็อคให้ แต่ในระยะหลังเริ่มมีการขู่ว่าจะปล่อยข้อมูลสู่สาธารณะดังเช่น ในข่าว ขู่ปล่อยข้อมูล Ransomware ที่ทำมากกว่ามัลแวร์เรียกค่าไถ่ หรือ นำไปประมูลขาย เช่น ข่าว DoppelPaymer อ้างเข้าถึงข้อมูลบริษัทผู้ดูแลระบบไอทีให้กับ NASA ได้ เป็นต้น